พระพุทธศาสนาในเวียดนาม: เรื่องเล่าจากการเดินทาง

พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร

Abstract


ผู้บริหารคณาจารย์ร่วมงานสัมมนา นำเสนองาน และร่วมลงนาม MOU กับมหาวิทยาลัย Thu Daou Mot University-Trường Đại Học Thủ Dầu Một และภาคีมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ที่เดินทางระหว่าง 6-9 ธันวาคม 2561 ในการเดินทางมี พระศรีธวัชเมธี,(รองผู้อำนวยการศูนย์อาเซียน) เป็นประธานร่วมลงนามและเดินทางกลับภายหลังลงนามเรียบร้อยแล้ว และมี ดร.ลำพอง กลมกูล (ผู้อำนวยการส่วนวิจัย สารสนเทศและบริการวิชาการ ศูนย์อาเซียนศึกษา) เป็นผู้ประสานงาน และอำนวยความสะดวกแก่คณะ มีพระครูปริยัติวิสุทธิคุณ,ผศ.ดร./ดร.ธนรัฐ สะอาดเอี่ยม (วิทยาเขตสุรินทร์) พระใบฎกีกาสุพจน์ ตปสีโล,ดร/พระครูธรรมธรศิริวัฒน์ สิริวฑฺฒโน,ผศ.ดร.(วิทยาเขตอุบลราชธานี) พระมหาภาณุวัฒน์ แสนคำ, ดร.ณภัสสรส์ เหมาะประสิทธิ์ อ.ศิลาวัฒน์ ชัยวงศ์ (วิทยาลัยสงฆ์ลำปาง) (ดร.พระปลัดสมชาย ปโยโค (วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทราวดี วัดไร่ขิง จ.นครปฐม) ผศ.พระคมสัน  ิตเมธโส,พระวีรศักดิ์, ดร.บุญถิตา ถิรติสกุล (คณะมนุษย์ศาสตร์) รศ.ดร.วาสนา แก้วหล้า (มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์) ดร.ปทุมพร อภัยจิตต์ (โรงพยาบาลนางรอง จ.บุรีรัมย์)  พระอาทิตย์ (วัดประยุรวงศาวาส กทม.) ร่วมเดินทาง ร่วมสัมมนานาชาติและนำเสนอผลงาน รวมทั้งมีบุคคลากรส่วนงานอื่น ๆ ส่งผลงานเข้าร่วมเผยแพร่อีกหลายท่าน ในงาน The 1stInternational Annual Conference Southeast 

Vietnam Outlook 2018 ที่ Thu Dua Mot University-Trường Đại Học Thủ Dầu Một ประเทศเวียดนาม 

ในการเดินทางเวียดนามในช่วงที่ผ่านมา ได้พบเห็นสถานการณ์พระพุทธศาสนาจากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้วย วัดกลายเป็นสิ่งประดิษฐ์สร้างเพื่อการท่องเที่ยว วัดกลายเป็นสถาบันหรือบ่มเพาะคุณภาพชีวิต อันเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต รวมไปถึงวัดกลายเป็นส่วนสำคัญของการขับเคลื่อนกลไกเชิงสังคม มีหนังสือหรืองานวิจัยเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในเวียดนามจำนวนหลายเล่ม และในจำนวนเล่านั้นสะท้อนภาพความเชื่อมโยงของพระพุทธศาสนาระหว่างอดีตกับปัจจุบัน โดยมีพระพุทธรูปที่พิพิธภัณฑ์จะเป็นเรื่องเล่าเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนาม หลักฐานความเป็นพระพุทธศาสนาที่เห็นด้วยตาเนื้อ ที่เห็นเป็นพระพุทธรูปจากพิพิธภัณฑ์ อันเชื่อมโยงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนาสมัยพระนครมีพื้นที่กระจายไปถึงดินแดนอันเป็นส่วนหนึ่งของเวียดนามในปัจจุบัน โดยมีพระพุทธรูปศิลปะแบบบายน พระพุทธรูปหินทราย และเทวรูปในช่วงนั้นเป็นหลักฐาน

          พระพุทธศาสนาแบบมหายาน ในแบบที่เป็นอยู่ปัจจุบัน จากวัดที่เราไปเยี่ยมชม หลาย ๆ วัด จะเป็นวัดที่สะท้อนค่านิยมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในแบบมหายานที่เชื่อมต่อมาจนกระทั่งปัจจุบัน และทำให้เห็นว่าพระพุทธศาสนายังเป็นส่วนหนึ่งและมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตชาวเวียดนามอย่างแยกไม่ออก และกลายเป็นส่วนสำคัญและเติมเต็มต่อความเป็นบุคคลสำคัญของเวียดนามด้วยเช่นกัน


Full Text:

PDF

References


Browne, Malcolm. (1963). World Press Photo 1963. Amsterdam: World Press Photo.

David Chandler. (1991). The Land and People of Cambodia. USA: Harper Collins Publishers.

David Chandler. (2008). History of Cambodia. Fourth Edition. Philadelphia : Westview Press.

Dang Nghiem Van, Chu Thai Son and Luu Hung. (1993). Ethnic Minorities in Vietnam, Hanoi: The Gioi Publishers.

George Coedes. (1968). The Indianized States of Southeast Asia,tr, by Susan Brown Cowing. Honolulu: East West Center Press.

Hammer, Ellen J. (1987). A Death in November: America in Vietnam, 1963. New York City: E.P. Dutton.

Huỳnh Kim Dung, (2008). Tác Động Của Lịch Đối Với Di Sản Văn Hóa Phật Giáo Nam Tông Khmer Nghành Khmer tỉnh Trà Vinh, “Affection of Tourist toward Cultural Legacy of Khmer Theravāda Buddhism at Tra Vinh Province”, B.A Thesis, HCMC: Opening University.

Ian Harris. (2005). Cambodian Buddhism, History and Practice. Bangkok: O.S. Printing House.

Jacobs, Seth. (2006). Cold War Mandarin: Ngo Dinh Diem and the Origins of America's War in Vietnam, 1950–1963. Lanham: Rowman & Littlefield.

Jones, Howard. (2003). Death of a Generation: how the assassinations of Diem and JFK prolonged the Vietnam War. New York: Oxford University Press.

Lê Hương.(1974).Sử Liệu Phù Nam “Historical Datas of Funan”.Vietnam: Sai Gon.

Mae Chee Huynh Kim Lan. (2010). A Study of Theravada Buddhism in Vietnam. Thesis of International Master Degree of Arts Programme. Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University

Nghia M. Vo; Chat V. Dang; Hien V. Ho (2008-08-29). The Women of Vietnam. Saigon Arts, Culture & Education Institute Forum. Outskirts Press.

Nguyễn Tài Thư (2008), History of Buddhism in Vietnam. Cultural heritage and contemporary change: South East Asia.

Nguyễn Sĩ Lâm,(2004). Kiến Trúc Chùa Khmer Nam Bộ Dưới Tác Động của Tư Tưởng và Kiến Trúc Phật Giáo Ấn Độ, “Architecture of Khmer Temple under Affection of Indian Buddhist Architecture and Thought”, M.A Thesis, HCMC: Architecture University.

Phra Palad Raphin Buddhisaro and Others. (2018). Annam Niyaka Buddhism on Vietnamese Style in Thailand : History and Development. Proceeding on The 1st International Annual Conference Southeast Vietnam Outlook 2018. Thu Dua Mot University-Trường Đại Học Thủ Dầu Một,Binh Duang Province,Vietnam, 6-8 December 2018.

Tỳ Kheo Thiện Minh, Sử Du Nhập Phật Giáo Nguyên Thủy Đến Việt Nam. (2008).“Propagation of Theravāda Buddhism to Vietnam”, Theravāda Buddhism Magazine, Nov, 11th November, 2008).

Taylor P. (2014) The Khmer lands of Vietnam: environment, cosmology and

sovereignty. National University of Singapore Press.

Ven. Tran Duy Hieu. (2008/2551). A Study of Annam-Nikaya in Thailand. The Degree of Master of Arts (Buddhist Studies). Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

Wu Zhibin. (2017). The Development of Chinese Nikaya Mahayana Buddhism in Thailand. Chinese Studies Juournal, Faulty of Humanities and Social Science, Dhonburi Rajabhat University.Vol 10 No 2 (2017) : July-December 2017 : 169-185.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.