การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของป่ากับหลักพุทธธรรมในทรรศนะ พระพุทธศาสนาเถรวาท

ประพัฒน์ ศรีกูลกิจ

Abstract


งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อศึกษาเรื่องป่านัยทั่วไป และนัยทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ๒) เพื่อวิเคราะห์คุณค่าเกี่ยวกับป่าตามทรรศนะพระพุทธศาสนาเถรวาท ๓) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างป่ากับหลักพุทธธรรมตามทรรศนะพระพุทธศาสนาเถรวาท งานวิจัยนี้เป็นการวิจัย เชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า ป่าเป็นธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและเหล่าพระสาวกโดยเป็นที่อยู่อาศัย เช่น วิหาร อาราม ศาลา ธรรมสภา เป็นต้น ตามนัยที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท

          คุณค่าของป่าตามทัศนะพระพุทธศาสนาเถรวาท พบว่า คุณค่าของป่าด้านสังคมและวัฒนธรรมประเพณี และคุณค่าของป่าในฐานะเป็นสถานที่ที่อยู่อาศัย เป็นต้น ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างป่ากับหลัก พุทธธรรม พบว่าความสัมพันธ์ของป่าในฐานะที่เป็นเสนาสนะป่าที่เกื้อหนุนต่อการปฏิบัติธรรม และความสัมพันธ์ของป่ากับพระรัตนตรัย เป็นต้น

This research have Three objectives : 1) to study the Vana [forest]  in general view and Theravada Buddhism view 2) to study the value of the forest in Theravada Buddhism 3) to analyze the relationship of forest and Buddha-dhamma in Theravada Buddhism. This research is documentary research. It could be concluded from the study that :

          The “forest” word which is the forest  relating with the Buddha and his followers appearing in Buddhist textbook  in Theravada Buddhism. The value of the forest in  Theravada Buddhism from the study that : In the way of Buddhism It is found that by the way of social welfare and culture etc. The quality of the forest should be dwelling place of people but the connection between Buddhist doctrine is found that the connection of forest as a resting place of priest and it should support moral practice of priest for worship of triton Gem etc.


Keywords


ความสัมพันธ์, ป่ากับพุทธธรรม, พระพุทธศาสนาเถรวาท

Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.