แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบภควันตภาพ สำหรับนักศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน

Sasiwat Tantiboonyanont

Abstract


บทคัดย่อ

           บทความนี้กล่าวถึงการจัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน (Work-integrated Learning) ที่ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐให้สถาบันอุดมศึกษาเปิดหลักสูตร เพื่อตอบสนองผู้เรียนและสังคมได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วซับซ้อนรุนแรง และการนำคุณลักษณะเด่นของการจัดการเรียนรู้แบบภควันตภาพมาผสมผสานเพื่อให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาที่ลักษณะเฉพาะเหมาะสมตามวิธีการเรียนรู้ของนักศึกษาแต่ละคน บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning Theory) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีคุณภาพ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต และมีทักษะที่จําเป็นต่อการทำงาน เป็นบุคลากรที่ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติต่อไป

 

 

Abstract

            This article discusses Work-integrated Learning which had promoted by government sector for higher education to develop a curriculum that is suitable for dynamic changes and the key features of Ubiquitous Learning in order to create an educational innovation according to the learning style of each student based on Experiential Learning Theory for enhanceing the students’ potential to have lifelong self-directed learning and developing working skills that are useful to develop the economy and society of the nation.


Keywords


Work-integrated Education Ubiquitous Learning Experiential Learning Theory

Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.